การศึกษา
•    () ,
•   ศศ.ม. (วัฒนธรรมและการพัฒนา) มหาวิทยาลัยมหิดล, ไทย
 
งานวิจัยที่สนใจ
1.
อินเดียศึกษา : ศาสนาสิกข์และคุรบานี
2.
อินเดียศึกษาและอาเซียนศึกษา : การตั้งถิ่นฐานใหม่ของชาวอินเดียนอกมาตุภูมิ ชุมชนชาวสิกข์ในอาเซียน ชายแดนอินเดียกับอาเซียน (เมียนมา)
3.
อินเดียศึกษา : การเมืองการปกครองอินเดีย การเลือกตั้งโลกสภาและวิธานสภา
4.
5.
 
งานวิจัย (2)
2563 :
โครงการวิจัยเรื่อง นิตเนม : วัตรและทัศน์แห่งสิกข์ ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) [หัวหน้าโครงการ]
2560 :
โครงการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาในคุรบานีแห่งซิกข์ สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนของสังคมไทย แผนวิจัยเรื่อง พลวัตรของภูมิปัญญาและภาพสะท้อนจากวรรณกรรมอินเดีย : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย ได้รับทุนจากโครงการวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ด้านมนุษยศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) [หัวหน้าโครงการ]
 
ผลงานตีพิมพ์ (15)
 
อภิรัฐ คำวัง . (2566). ประธานาธิบดีอินเดีย: พหุลักษณ์และปณิธาน. วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 53(1), 131-160.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2563). เทศกาลแห่งประชาธิปไตยในการเลือกตั้งสมาชิก “โลกสภา” อินเดีย ค.ศ.2019. วารสารสังคมศาสตร์, 50(1), 189-216.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2563). ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ศาสนา และชุมชนการค้า ณ เมืองชายแดนโมเรฮ์ รัฐมณีปุระ. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 13(1), 67–103.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2562). “คุรบานี” จักรวาลในดวงจิต : เรียนรู้ปรัชญาจากสัตว์ในภาพพจน์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 38(1), 65-85.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2561). ที่พรมแดนระหว่างอนุภูมิภาคเอเชียใต้และอาเซียน : มองอินเดียเชื่อมต่อเมียนมาร์ เพื่อ “มุ่งหน้าไปด้วยกัน”. วารสารสังคมศาสตร์, 48(1), 33-58.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2560). ปัญจาบ อินเดีย : ประวัติศาสตร์และปัจจุบัน ความเป็นรัฐ สังคมวัฒนธรรม และศาสนาซิกข์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 36(2), 95-116.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2559). ศาสดาในรูปพระมหาคัมภีร์แห่งศาสนาซิกข์ : ประวัติศาสตร์ ความหมาย และองค์ประกอบ (อรรถาธิบายเชิงเปรียบเทียบ). วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 18(1), 32-42.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2558). พ่อค้าชาวซิกข์ ณ หัวเมืองอีสาน. วารสารลุ่มแม่น้ำโขง, 11(2), 113-138.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2558). “นโยบายปฏิบัติการตะวันออก” ของอินเดีย กับ “ทางหลวงไตรภาคี” เชื่อมต่ออาเซียนและไทย. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 11(2), 137–166.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2558). สถานภาพภาษาปัญจาบในสังคมไทยในปัจจุบัน. . วารสารมนุษยศาสตร์ , 12(1), 45-57.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2556). “เซว่า” ใน “ครัวพระศาสดา” กับสังคมวัฒนธรรมของชาวไทยซิกข์ : กรณีศึกษาคุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา (กรุงเทพมหานคร). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(2), 1-25.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2556). เงินรูปีอินเดียในประวัติศาสตร์ล้านนา. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 9(1), 9–51.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2554). ปรัชญาว่าด้วย “หนึ่งดวงจิตวิญญาณในสองร่าง” และพิธีมงคลสมรส “อนันต์การัช” ของชาวไทยซิกข์. วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 23(1), 215-252.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2554). ชาวซิกข์ในสยามและล้านนา ว่าด้วยเรื่องประวัติศาสตร์การตั้งชุมชน ศาสนา และการค้า. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 8(2), 67-94.
 
อภิรัฐ คำวัง . (2553). รองเท้าในวิถีชาวซิกข์ : ปรัชญาจากปัญจาบสู่เจ้าพระยา. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 32(1), 153-175.
 
การนำเสนอ (1)
2565 :
จักรวาลคุรบานี องค์ความรู้ทางปรัชญาศาสนาซิกข์สำหรับสังคมไทย
 
ผลงานอื่นๆ (18)
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2565 ). ปัญญาในนิยามทางปรัชญาศาสนาสิกข์. มหิดลสาร, 7 .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2565 ). ที่สุดของความเป็นชนพื้นเมืองแห่งอินเดีย ประวัติศาสตร์การเมืองหน้าใหม่. RILCA Newsletter, 41(2) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2565 ). คุรุทวารา บังลา ซาฮิบ กับอาหารเพื่อชุมชน ท่ามกลางสงครามไวรัสโควิด-19. India Calling Newsletter, XI(Special Issue) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2562 ). เรื่องราวของสิงห์แห่งปัญจาบสู่เกาะภูเก็ต. India Calling Newsletter, X(3) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2562 ). เปิดประตูสู่คุรุศาสดา ณ บัตเตอร์เวิร์ธ ปีนัง. India Calling Newsletter, X(1) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2561 ). ศตวรรษ ‘ศรีคุรุสิงห์สภา’ ชาวซิกข์ในสิงคโปร์. มหิดลสาร, 9 .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2561 ). งาน ‘วิสาขี’ ของชาวซิกข์ ที่กรุงเก่าย่างกุ้ง. India Calling Newsletter, IX(3) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2561 ). งานเฉลิมฉลอง 100 ปี ศรีคุรุสิงห์สภา สิงคโปร์. India Calling Newsletter, IX(2) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2561 ). สิงห์ปัญจาบ : การเดินทางสู่สิงคโปร์. India Calling Newsletter, IX(1) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2560 ). ย้อนรอยศตวรรษ : นานาศาสนา จากมัสทราส (เชนไน) และปัญจาบสู่สุมาตรา. India Calling Newsletter, VIII(2) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2560 ). สำรวจสุมาตราในมิติภารตะศึกษา : ภาคสนามชุมชนชาวซิกข์ในประชาคมอาเซียน. จดหมายข่าว ศูนย์มานุษยวิทยา สิรินธร, 94 .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2560 ). ตลาดชายแดน: ภาคตะวันออกฉียงเหนือของอินเดียกับบังคลาเทศและเมียนมา. India Calling Newsletter, VIII(1) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2559 ). ชุมชนชาวซิกข์ มาเลเซีย. India Calling Newsletter, VII(3) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2559 ). ถิ่นเหนือของไทย : หนึ่งปลายทางของกลุ่มชาติพันธุ์จากอนุทวีปอินเดีย จากอดีตสู่ปัจจุบัน. India Calling Newsletter, VII(2) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2559 ). ภาษาปัญจาบและชาวซิกข์ในแคนาดา. India Calling Newsletter, VII(1) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2558 ). "คนพันธุ์" เทือกหิมาลัย อัตลักษณ์ วิถี วัฒนธรรม (จากภารตะศึกษาฟอรั่ม ครั้งที่ 7). มหิดลสาร, 40(11) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2554 ). หมากในย่านพาหุรัด. India Calling Newsletter, II(2-3) .
 
อภิรัฐ คำวัง . ( 2553 ). คำสอนของพระศาสดาในห้องรับฝากดูแลรองเท้า. วารสารเมืองโบราณ, 36(2) .