การศึกษา
•    () ,
•    () ,
 
งานวิจัยที่สนใจ
1.
ดนตรีศึกษา/พหุวัฒนธรรมดนตรีศึกษา
2.
มานุษยวิทยาดนตรีประยุกต์
3.
วัฒนธรรมและการพัฒนา
4.
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
5.
 
งานวิจัย (9)
2564 :
การพัฒนาหลักสูตรดนตรีโลกออนไลน์สำหรับจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับเด็กไทย_ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)_[หัวหน้าโครงการ ]
2564 :
โครงการการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังและประเมินสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์_ได้รับทุนจากกองทุนสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ [หัวหน้าโครงการ]
-- :
โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่สาขาดนตรี
-- :
การจัดทำรายงานเชิงวิเคราะห์สภาวการณ์เด็กและเยาวชนประจำปี 2553-2554
-- :
การสังเคราะห์ชุดโครงการวิจัยด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
-- :
โครงการสร้างความตระหนักประชาธิปไตยวิถีไทยผ่านวัฒนธรรมไทย ภายใต้แผนงานเยาวชน: พลังสร้างสรรค์วิถีไทยสู่วิถีชีวิตสุขภาวะ
-- :
แผนงานวิจัยการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กและเยาวชนบนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม
-- :
โครงการมอแกนกับการฟื้นฟู: การจัดการการเรียนรู้ทางดนตรีเพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนอย่างอย่างยั่งยืน
-- :
โครงการวิจัยการวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการจัดการเรียนรพู้หุวัฒนธรรม ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มสาระดนตรี สำหรับช้ันประถมศึกษาของประเทศไทย
 
ผลงานตีพิมพ์ (9)
 
Rungnapa, S., & Chandransu, N. (2021). The Practice Of Creative Music And Dance Performances Of The Asli Mala Group. Journal of Urban Culture Research (JUCR), 22 (1), 92-103.
 
Saibunmi, S., Chandransu, N., & Chanoksakul, S. (2021). Developing Social and Emotional Learning Skills through Secondary School Concert Bands. Malaysian Journal of Music, 10(1), 1-11.
 
นันธิดา จันทรางศุ , สุรสีห์ ชานกสกุล และ สกาวรุ้ง สายบุญมี. (2563). ทิศทางการสอนดนตรีโลก: นิยาม หลักการ และข้อเสนอแนะสาหรับประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(1), 142-163.
 
เรวดี อึ้งโพธิ์ และนันธิดา จันทรางศุ . (2562). การฟื้นฟูวัฒนธรรมดนตรีในภาวะวิกฤตของกลุ่มชาติพันธุ์มอแกนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2(11), 199-222.
 
Chandransu, N . (2019). Integrating Multicultural Music Education into the Public Elementary School Curricula in Thailand. International Journal of Music Education, 37(4), 547–560.
 
Nantida Chandransu . (2011). Music Education Policies and their Implementation in the Higher Education System in Thailand : What Does the Future Hold? . Asia-Pacific Journal for Arts Education (APJAE), Volume 9, .
 
นันธิดา จันทรางศุ . (2560). การวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการจัดการเรียนรู้พหุวัฒนธรรมในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มสาระดนตรีสำหรับชั้นประถมศึกษาของประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 36(1), 25–47.
 
นันธิดา จันทรางศุ . (2560). การบูรณาการข้อมูลวัฒนธรรมสู่การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการอยู่ร่วมในสังคมพหุวัฒนธรรม. วารสารภาษาและวัฒนธรรม , 36(2), 69–93.
 
นันทิยา ดวงภุมเมศ, นันธิดา จันทรางศุ. (2560). ประชาธิปไตยในวิถีไทย: บทสังเคราะห์จากการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความคิดเชิงบูรณาการประชาธิปไตยในวัฒนธรรมไทยให้เด็กและเยาวชน. Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10 (3), 600-616.
 
การนำเสนอ (1)
2009 :
The Procedure of Formulating and Generating the Identity of Music Education in Thailand.
 
ผลงานอื่นๆ (2)
 
. ( -- ). “รายงานและวิเคราะห์สภาวการณ์เด็กไทย 2553 -2554” โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
 
. ( -- ). หนังสือชุดเจาะลึก 4 ปัญหาร้อนเด็กไทย เล่มที่ 1 “ทุกขภิวัตน์ : ความเครียดของเด็กไทยในยุคโลกาภิวัตน์” โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .