การศึกษา
•   ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษธุรกิจ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, ประเทศไทย
•   ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย
•   ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล, ประเทศไทย
 
งานวิจัยที่สนใจ
1.
สัทศาสตร์และสัทวิทยาเชิงทดลอง
2.
สัทศาสตร์สังคม การแปร และการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
3.
ภาษา อัตลักษณ์ และความรู้เชิงนิเวศน์ท้องถิ่น
4.
ภาษาศาสตร์ในอัลกุรอาน
5.
ภาษาศาสตร์และภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน
 
งานวิจัย (6)
2565 :
โครงการจ้างพัฒนาคลังข้อมูลคู่ภาษาไทย-เมียนมาและคลังข้อมูลเสียงภาษาเมียนมา แหล่งทุน: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค)
2564 :
การพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์มสำหรับนวัตกรรมการสื่อสารเพื่อส่งเสริมสุขภาวะให้กับแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมา. แหล่งทุน: หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.)._[ผู้ร่วมวิจัย]
2564 :
โครงการวิเคราะห์พยัญชนะต้นเสียงยาวในภาษามลายูปาตานีเชิงสัทศาสตร์สังคม: นัยสำคัญต่อการแปรและการเปลี่ยนแปลงทางภาษา แหล่งทุน: ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ปีงบประมาณ 2563 จาก สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว)_[หัวหน้าโครงการ]
2563 :
โครงการศึกษาการอ่านอัลกุรอานเชิงกลสัทศาสตร์และสัทวิทยา แหล่งทุน: ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยมหิดล_[หัวหน้าโครงการ]
2561 :
โครงการการศึกษาองค์ความรู้ด้านภาษาและชีววัฒนธรรมของชาวมอแกน [หัวหน้าโครงการ]
2559 :
โครงการการสำรวจและจัดทำแผนที่ภาษาตามแนวชายแดนเพื่อวางแผนการจัดการศึกษาแก่เยาวชนกลุ่มชาติพันธุ์ ภายใต้แผนงานโครงการการขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษา เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ แหล่งทุน: คอบช._[หัวหน้าโครงการย่อย]
 
ผลงานตีพิมพ์ (8)
 
Kraisame, S., Thawornphat, M. (2023). Re-conceptualizing Toponyms as the Repository of Moken Traditional Ecological Knowledge: A Case Study of Surin Islands. Kasetsart Journal of Social Science, 44 (3), 701-710.
 
ภัสร์ฐิตา ถาวร, สราวุฒิ ไกรเสม. (2566). การแปรตามภูมิภาคของวรรณยุกต์ภาษาไทขึนจังหวัดเชียงใหม่. วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา, 45(2), E195.
 
Hou, P., Kraisame, S. (2023). Interlanguage Phonology and Accentedness: An Experimental Study of Thai Final Nasal Consonants in Chinese Students Learning Thai. rEFLections, 30(2), 318-336.
 
สราวุฒิ ไกรเสม, ยูเนียนสาสมีต้า สาเมาะ. (2565). การยืดเสียงพยัญชนะในอัลกุรอานตามหลักการอ่านตัจญ์วีด: การศึกษาค่าระยะเวลาทางกลสัทศาสตร์. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(2), 43-68.
 
ภัสร์ฐิตา ถาวร, สราวุฒิ ไกรเสม. (2565). การสนธิวรรณยุกต์ในกลุ่มภาษาจีนและภาษาไท. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(3), 590-626.
 
สราวุฒิ ไกรเสม, ยูเนียนสาสมีต้า สาเมาะ. (2564). พยัญชนะเสียงยาวภาษาอาหรับในการอ่านอัลกุรอาน: การวิเคราะห์ทางสัทวิทยาอัตภาค. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(3), 106-128.
 
นุชนันต์ สัจจาเฉลียว, สราวุฒิ ไกรเสม. (2563). หนังตะลุงภาคใต้: การเคลื่อนไหวทางภาษาในสังคมพหุวัฒนธรรม. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 39(1), 1-18.
 
ถนอมจิตต์ สารอต, สราวุฒิ ไกรเสม. (2562). ความเป็นพหุภาษาในชุมชนเมือง: กรณีศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภูมิทัศน์ทางภาษากับธุรกิจการค้าย่านนานาฝั่งเหนือ. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 38 (1), 24-40.
 
การนำเสนอ (1)
2561 :
Documenting the Vanishing Indigenous Placenames: the Value of Moken Toponyms
 
ผลงานอื่นๆ (2)
 
สิงหนาท น้อมเนียน , สราวุฒิ ไกรเสม . ( 2563 ). หน่วยที่ 8 สมรรถนะของผู้สอนและผู้เรียนเพื่อการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21. ชุดวิชา สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .
 
Isara Choosri, Chumphol Phothisarn, Amornrat Rattanawong and Sarawut Kraisame . ( 2018 ). The Limit of Literacy-based Language Tevival: Maniq, Mlabri, and Moklen. Suwilai Premsrirat and David Hirsh (eds), Language Revitalization: Insights from Thailand (pp.223-238). Germany :Peter Lang. [Linguistic Insights Studies in Language and Communication: li 246] [SJR] .