การศึกษา
•   ศิลปบัณฑิต ศ.บ. (ศิลปะไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ไทย
•   ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภูมิภาคศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ไทย
 
งานวิจัยที่สนใจ
1.
พม่าศึกษา
2.
ความสัมพันธ์ทางศิลปวัฒนธรรมระหว่างไทย-พม่า
3.
พหุวัฒนธรรม
4.
5.
 
งานวิจัย (5)
2564 :
โยทยานิยม : การผลิตซ้ำทางวาทกรรมที่ปรากฏในเอกสารด้านศิลปวัฒนธรรม กับปรากฏการณ์ทางสังคมของพม่าช่วง พ.ศ.๒๕๐๕–๒๕๖๑_ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม [หัวหน้าโครงการ]
2560 :
การจัดการท่องเที่ยวชุมชนโดยคนพื้นที่อย่างมีความสุขอย่างยั่งยืน
2559 :
โครงการการจัดการวัฒนธรรมด้วยการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและคงคุณค่าทางสังคมอย่างสมดุล
2557 :
โครงการเสริมสร้างสมรรถนะทางวัฒนธรรมเพื่อสุขภาวะแรงงานข้ามชาติ
-- :
พหุวัฒนธรรมอาเซียนในพื้นที่โลกออกไลนด์และออนไลน์: พลวัต การบริหารจัดการและสมรรรถนะทางพหุวัฒนธรรมในบริบทการย้ายถิ่นข้ามชาติ กรณีศึกษาประเทศไทย สิงคโปร์ และมาเลเซีย
 
ผลงานตีพิมพ์ (1)
 
สิทธิพร เนตรนิยม . (2562). ฟ้อนม่านมุยเซียงตา: อิทธิพลนาฏกรรมพม่าในสังคมไทย ศึกษาวิเคราะห์ความหมายของชื่อชุดการแสดง บทขับร้อง และโครงสร้างของทำนองเพลง. ไทยคดีศึกษา , 16 (1), 50-90.
 
การนำเสนอ (5)
2559 :
เรื่องราววรรณกรรมเมียนมา
2558 :
ตัวตนคนทวายในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น วัดพะยาจี
2557 :
นัตโกจีจ่อ จากเพลงรำผีสู่เวทีเพลงป๊อป
2556 :
อิเหนาพม่า : จากวรรณคดีสู่นาฏกรรม
2015 :
ม่านมุยเซียงตา : รำพม่าในไทย ที่มา ความหมาย และบทเพลง
 
ผลงานอื่นๆ (19)
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2562 ). บทที่ ๔ ตำนานนาฏกรรมโยธยา และกระยานิทานในสังคมวัฒนธรรมพม่า. ปองขวัญ สุขวัฒนา ลาซูส (บรรณาธิการ), รอยศิลป์อยุธยาในพม่า หนังสือชุดเฉลิมพระเกียรติมหาเถระพระเจ้าอุทุมพรมิ่งขวัญประชาราษฎรอยุธยาในพม่า เล่ม ๒ (หน้า ๑๖๓-๑๘๐). กรุงเทพฯ: บ.ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้น จำกัด. .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2562 ). เมียนมาราชาภิเษก คติ ความหมาย และขั้นตอนพระราชพิธีโดยสังเขป. (Myanmar Coronation: notion, meaning, and the ceremony in brief). ศิลปวัฒนธรรม, 40 (8), 100-113. .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2561 ). ความสัมพันธ์ทางนาฏกรรมไทย-พม่า ระหว่างช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 24 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 25.ศิลปวัฒนธรรม 39 (3),105-115 .
 
สิทธิพร เนตรนิยม, Mrs. Thu Zar Aung . ( 2560 ). ภาษาพม่าเบื้องต้น .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2560 ). ติ่งโจ่ห์ด่อ : งานพระบรมศพของกษัตริย์เมียนม่ามีงตยาจี.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ (บรรณาธิการ),เสด็จสู่แดนสรวง (น.381-400).กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์ มรภ.สวนสุนันทา .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2560 ). “การก้าวผ่านวาทะกรรมพม่าเผาเมือง การก้าวผ่านประวัติศาสตร์บาดแผลสู่การสร้างทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์” .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2559 ). ความขัดแย้งบนพื้นที่ทางวัฒนธรรม:กรณีวัดทรายมูล (พม่า) อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่.,ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์,นันทิยา ดวงภุมเมศ,มรกต ไมยเออร์ (บรรณาธิการ) "การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม" กรุงเทพฯ .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2559 ). ด่ะจาน สงกรานต์พม่า เทศกาลเปลี่ยนผ่าน วิถีเกษตร กับความหวังของผู้คน.,พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ (บรรณาธิการ).,สาดน้ำสงกรานต์ วัฒนธรรมร่วมรากเอเซีย,น.๘๑-๙๘ กรุงเทพฯ .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2558 ). นัตโกจีจ่อ จากเพลงรำผีสู่เวทีเพลงป๊อป,เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์,อิสระ ชูศรี (บรรณาธิการ),วัฒนธรรมสมัยนิยม,น.๖๓-๗๔,กรุงเทพฯ .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2558 ). ตะซาวง์ไดง์ จุดไฟตามประทีปในพม่า,พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ บก.,ลอยกระทง เรือพระราชพิธี วัฒนธรรมน้ำร่วมราก,น.๕๗-๖๓,กรุงเทพฯ .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2556 ). ปฺาดกลา ระนาดมอญในวัฒนธรรมความเป็นพม่า 2.วารสารเสียงรามัญ,ปีที่ 7 ฉบับที่ 34,5-6 .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2556 ). หนั่นไกรแหม่ด่อ มหิงษมาตา : เทพผู้รักษาเมืองพะโค. วารสารเสียงรามัญ, ปีที่ 7 ฉบับที่ 36-37 .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2556 ). ปฺาดกลา ระนาดมอญในวัฒนธรรมความเป็นพม่า 3. วารสารเสียงรามัญ,ปีที่ 7 ฉบับที่ 35,5-6 .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2555 ). ปฺาดกลา "ระนาดมอญ".วารสารเสียงรามัญ,ปีที่ 6 ฉบับที่ 33,28-29 .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2552 ). พระธาตุ : กุสลลักข์ในพุทธศาสนา หมุดหมายทางภูมิศาสตร์ในอุดมคติถึงเครือข่ายชุมชนล้านนาในแอ่งที่ราบเชียงใหม่-ลำพูน.,สำนักพิมพ์ธารปัญญา. เชียงใหม่ .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2549 ). พระราชชายาเจ้าดารารัศมีกับการดนตรีไทย.เอกสารประกอบนิทรรศการ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี กับงานสังคีตศิลป์ ณ อาคารรัศมีทัศนา พิพิธภัณฑ์พระตำหนักดาราภิรมย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,หน้า 5-23 .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2546 ). งานประดับกระจกในมัณฑเลย์ : ภาพสะท้อนความสัมพันธ์และความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมพม่าระหว่างสมัยราชวงศ์คองบองตอนปลาย ถึงสิ้นสมัยอาณานิคม (พ.ศ.๒๓๖๐-๒๔๙๑). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภูมิภาคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .
 
สิทธิพร เนตรนิยม . ( 2545 ). เมียวดี สังเขปประวัติศาสตร์และตำนานท้องถิ่นที่น่าสนใจในชายแดนพม่า,วารสารเมืองโบราณ,ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๓, .
 
Sittiporn Netniyom . ( 2017 ). Man Mui Zhiang Ta: Burmese Dance in Thailand Origin, Meaning, and Lyric.Ampika Rattanapitak (Editor),A Collection of Papers on Myanmar Language and Literature.(p.137-165).Chiang Mai : Patana Prepress .