การศึกษา
•   ศิลปศาสตรบัณฑิต (วิชาเอก ภาษาอังกฤษ วิชาโท ภาษาจีน) มหาิทยาลัยธรรมศาสตร์, ประเทศไทย
•   ปริญญาโท (ภาษาศาสตร์) University of Hawaii at Manoa, ประเทศสหรัฐอเมริกา
•   ปริญญาเอก (ภาษาศาสตร์) University of Hawaii at Manoa, ประเทศสหรัฐอเมริกา
 
งานวิจัยที่สนใจ
1.
ภาษาศาสตร์เชิงสังคม
2.
การเรียนการสอนภาษา
3.
ภาษาศาสตร์ภาษาจีน
4.
การทำพจนานุกรม
5.
มนุษยวิทยาภาษาศาสตร์
 
งานวิจัย (13)
2567 :
โครงการ Reducing indigenous inequalities: Contextualizing strategies and policies for achieving community empowerment in different global regions ได้รับทุนสนับสนุนจาก Worldwide Universities Network (WUN)_[หัวหน้าโครงการ]
2567 :
โครงการ Language, Culture and sustainable community development: Taking the conversation further 2024-2025_ได้รับทุนสนับสนุนจาก The British Academy_[หัวหน้าโครงการ]
2566 :
โครงการ Crossed-border migrants and Thai workers in elderly care is relevant, complex, and timely topic._ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากทุนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ผ่าน MU-SSHA_[ผู้ร่วมวิจัย]
2565 :
Research writing workshop on "Language, culture and sustainable community development"_ได้รับทุนสนับสนุนจาก The British Academy
2564 :
โครงการสืบสานสายใยชุมชนไทยทรงดำสู่ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ (กลุ่มไปกะเลามาเล้)_[ผู้ร่วมวิจัย,ออยู่ระหว่างดำเนินการ]
2564 :
โครงการเยาวชนร่วมใจรักษ์พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น: การจัดการความรู้มรดกภาษาวัฒนธรรมใกล้สูญด้วยทักษะดิจิทัล [ผู้ร่วมวิจัย, อยู่ระหว่างดำเนินการ]
2563 :
การศึกษาพลวัตของการสูญเสียภาษา: สู่ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิเสธภาษาของผู้พูดรุ่นเยาว์ของ Okinoerabu [Study of dynamics of language loss: Toward understanding of language declination in younger speakers of Okinoerabu]: ผู้ร่วมวิจัย_อยู่ระหว่างดำเนินการ 2563-2567
2562 :
โครงการ Capacity building and development of a reproducible model for language and culture reclamation in minority commuities: A comparative case study of the Black Tai and the Tai Boeng people in Thailand
2551 :
การสัมผัสภาษา: ไทลื้อในสิบสองปันนา
---- :
ชาติพันธุ์ ภาษา วัฒนธรรม และการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์
-- :
กรณีศึกษาชนชาติไทยลื้อในสิบสองปันนาและจังหวัดน่าน:หนทางสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
-- :
Embracing the Difference: Reducing Language Bias and Discrimination in Multicultural Classroom
-- :
โครงการการศึกษาเบื้องต้นภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์ของชาวปะหล่องในเชียงตุงประเทศพม่าและในยูนานประเทศจีน
 
ผลงานตีพิมพ์ (12)
 
Suraratdecha, S., Tayjasanant, C.. (2020). Thai teachers’ self-assessment and student perceptions on the practice of autonomy. Kasetsart Journal of Social Sciences, 41, 46–52.
 
Tayjasanant, C., Suraratdecha, S.. (2016). Tayjasanant Thai EFL Teachers and Learners’ Beliefs and Readiness for Autonomous Learning. The Southeast Asian Journal of English Language Studies, 22(3), 153 – 169.
 
ยุวดี ทรัพย์สมบูรณ์ , สุมิตรา สุรรัตน์เดชา และสิงหนาท น้อมเนียน. (2559). อิทธิพลทางความเชื่อของอาจารย์เจ้าของภาษาที่มีต่อการเสริมต่อแนวคิดการเรียนรู้ในห้องเรียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 35(ฉบับพิเศษ). , , 245-264.
 
Burusphat, S., Ardsamiti, N., suraratdecha, S. and Yamabhai, J.. (2014). Ethnic Tourism Development in Thailand: The Case of the Black Tai. The Journal of Lao Studies, 5(1), 108-125.
 
Burusphat S., Deepadung, S., Suraratdecha, S., Ardsamiti, N., Patpong, P. and Setapong, P.. (2011). Language Vitality and the Ethnic Tourism Development of the Lao Ethnic Groups in the Western Region of Thailand. Journal of Lao Studies, 2(2), 23-46.
 
สมทรง บุรุษพัฒน์ , สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, สุมิตรา สุรรัตน์เดชา, ณรงค์ อาจสมิติ, ปัทมา พัฒน์พงษ์ และ พิเชฐ สีตะพงศ์. (2554). แผนที่กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 30 (2), 83-114.
 
Deepadung, S., Suraratdecha, S., Ardsmiti, N. and Setaphong, P.. (2011). Language Vitality and Mon Ethnic Group Attitudes Towards Ethnic Tourism Development in the Western Region of Thailand: A Preliminary Report. Mon-Khmer Studies Journal , Special issue 3, , 19 - 32.
 
สมทรง บุรุษพัฒน์ , สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, สุมิตรา สุรรัตน์เดชา, ณรงค์ อาจสมิติ, ปัทมา พัฒน์พงษ์ และ พิเชฐ สีตะพงศ์. (2554). พลังชีวิตและภาวะการถดถอยภาษากลุ่มชาติพันธุ์ในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. The Journal, 7 (1), 27-54.
 
สุมิตรา สุรรัตน์เดชา . (2003). Sumittra Suraratdecha. 2003. Social and psychological factors in Thai student’s codeswitching. Manusya (6)1. 67-90.. Manusya, 6, 67-90.
 
สุมิตรา สุรรัตน์เดชา . (2008). Sumittra Suraratdecha. 2008. Tourism and the Lue Language in Xishuangbanna. Asian Anthropology, Vol. 7.. Asian Anthropology, 7, 79-98.
 
Suraratdecha, S. . (2010). Ethnic Tourism and the Maintenance of the Dai Language and Culture in Xishuangbanna. Proceedings of Hawaii International Conference on Arts and Humanities, January 13-16, 2010. , , .
 
สุมิตรา สุรรัตน์เดชา, เบญจวรรณ รุ่งเรืองศุภรัตน์. (2010). Sumittra Suraratdecha and Benjawan Rungruangsuparat. 2010. World Englishes in the Education of Thai Tourism Personnel: Awareness and Attitudes. Proceedings of Hawaii International Conference on Arts and Humanities, January 13-16, 2010. , , .
 
การนำเสนอ (1)
2007 :
Language Contact: Tai Lue in Xishuangbanna
 
ผลงานอื่นๆ (4)
 
สุนิดา ศิวปฐมชัย, มยุรี ถาวรพัฒน์, วีรานันท์ ดำรงสกุล และ สุมิตรา สุรรัตน์เดชา . ( 2557 ). "พลังภาษาและวัฒนธรรม" เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยสู่สังคมอยู่สบาย. ภาษาและวัฒนธรรม : หลักประกันของสังคมสุขภาวะ (หน้า 29-62). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ธิ้ง เมท .
 
สมทรง บุรุษพัฒน์., สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, สุมิตรา สุรรัตน์เดชา, ปัทมา พัฒน์พงษ์, ณรงค์ อาจสมิติ, ชิตชยางค์ ยมาภัย และ พิเชฐ สีตะพงศ์ . ( 2556 ). การพัฒนาเชิงท่องเที่ยวชาติพันธุ์ไทยโซ่ง. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล, 284 น. .
 
สุมิตรา สุรรัตน์เดชา . ( 2555 ). บริบททางสังคมกับการเรียนทางภาษา. หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา, สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1-7, โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, (3-1)-(3-34) .
 
Sumittra Suraratdecha . ( 2014 ). Language and Cultural Rights in the Ethnic Revival Movement of the Black Tai in Khaoyoi, Petchaburi. Pranee Liamputtong (Ed.), Contemporary Socio-Cultural and Political Perspectives in Thailand (pp. 237-252). Australia: Springer .