การศึกษา
•   พยาบาศาสตร์บัณฑิต (พยาบาลศาสตร์) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีกรุงเทพ, ไทย
•   ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล, ไทย
•   ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ประชากรศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล, ประเทศไทย
 
งานวิจัยที่สนใจ
1.
สุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์และผู้ย้ายถิ่น
2.
การวิจัยข้ามวัฒนธรรม
3.
วัฒนธรรมกับการดูแลผู้สูงอายุ
4.
การบูรณาการทางวัฒนธรรมกับการย้ายถิ่น
5.
 
งานวิจัย (23)
2565 :
"พหุวัฒนธรรมสมดุล" : การสร้างสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมในกรณีแรงงานต่างชาติในประเทศไทยที่มีสัญชาติเมียนมา กัมพูชา และลาว_[หัวหน้าโครงการ]_ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.)
2565 :
โครงการการพัฒนาศูนย์วิชาการและปฏิบัติการด้านการรู้เท่าทันสื่อของผู้สูงอายุไทย_ได้รับทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)_ผู้ร่วมวิจัย
2564 :
Unexpolored Health and cultural: Challenged and opportunities in the aged care for the transnational retirement industry in Thailand
2564 :
การรู้เท่าทันสื่อของผู้สูงอายุไทย: การขยายผลหลักสูตรวัยเพชรรู้ทันสื่อและการสารวจสถานการณ์ผลกระทบการบริโภคสื่อ [ผู้ร่วมวิจัย]
2563 :
ผู้สูงอายุรู้ทันสื่อ : สร้างหลักสูตรและขยายเครือข่ายนักสื่อสารสุขภาวะ [ผู้ร่วมวิจัย]
2562 :
Research and Implementation for a baseline study or migrant early childhood development
2562 :
โครงการ “สูงวัยไม่เสพสื่ออย่างสุ่มเสี่ยง” : สร้างนักสื่อสารสุขภาวะที่รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ
2561 :
การส่งเสริมค่านิยมไทย “คุณค่าและศักดิ์ศรี”เพื่อฝ่าวิกฤตสังคมสูงอายุ
2561 :
โครงการลูกหลานไทยหัวใจกตัญญูดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในครอบครัว
2553 :
การตายของเด็กไทยพุทธและไทยมุสลิม:ความแตกต่างที่เกิดจากความไม่เท่าเทียม?
2548 :
การศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพแรงงานพม่าในจังหวัดระนอง
2548 :
การศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลางเรื่อง ชุมชนลุ่มน้ำนครชัยศรี: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม พลวัต และการท้าทาย
2547 :
โครงการการจัดการทรัพยากรเพื่อสันติภาพและความยั่งยืน เครือข่ายวิจัยบูรณาการลุ่มน้ำท่าจีน - แม่กลอง(การศึกษาการเปลี่ยนแปลง การธำรงอยู่ และการพลิกฟื้นวัฒนธรรมชุมชนลุ่มน้ำท่าจีน-แม่กลอง)
2547 :
การพัฒนาแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคโดยอบต. กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
2547 :
การใช้บริการสุขภาพของแรงงานต่างชาติพม่าในจังหวัดระนอง
2547 :
การพัฒนาแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคโดยองค์การบริหารส่วนตำบล:กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
2547 :
“การวิจัยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร” แผนกลยุทธ์งานวิจัยสุขภาพ ทบทวนและปรับเปลี่ยนครั้งที่ 1
2546 :
สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย:กลุ่มชาติพันธุ์ฮกเกี้ยน(นำเสนอด้วยรูปเล่มและระบบมัลติมีเดีย)
2546 :
การพัฒนารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงอย่างแรงโดยชุมชน กรณีศึกษาจังหวัดระนอง
2546 :
โลกทัศน์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: ความเชื่อในการดูแลรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของชาวฮกเกี้ยน
2545 :
ชุมชนเข้มแข็งในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก: เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร
-- :
การบูรณาการการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนปัจจุบันในการรักษากระดูกหัก
:
โครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นพื้นที่ภาคกลาง
 
ผลงานตีพิมพ์ (17)
 
สิรินทร พิบูลภานุวัธน์, นันทิยา ดวงภุมเมศ และขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์. (2563). สูงวัยไม่เสพสื่ออย่างสุ่มเสี่ยง: การสร้างนักสื่อสารสุขภาวะสูงอายุที่รู้เท่าทันสื่อ. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 15(3), 174-191.
 
Stange, G., , Sakdapolrak, P., Sasiwongsaroj, K., & Kourek, M.. (2019). Forced migration in Southeast Asia – A brief overview of current research. Austrian Journal of South-East Asian Studies, 12(2), 249-265.
 
Kimura Y,, Iwasaki M, Ishimoto Y, et al.. (2019). Association between anorexia and poor chewing ability among community-dwelling older adults in Japan. Geriatrics and Gerontology International, 19, ,1290–1292.
 
Sasiwongsaroj, k, Burasith, Y. (2019). “Features and Challenges of an Ageing Population” In M.J. Montesano, T. Chong, T, & M. Heng (eds.), . After the Coup: The National Council for Peace and Order Era and the Future of Thailand (pp. 357-380). Singapore: ISEAS Publishing, , .
 
Sasiwongsaroj, k, and Burasith, Y. (2019). Managing Thailand’s Ageing Population. Perspective, 32, 1-15.
 
Iwasaki, M, Kimura, Y., Sasiwongsaroj, K., Kettratad-Pruksapong, M., Suksudaj, S., Ishimoto, Y., …Miyazaki, H. (2018). Association between objectively measured chewing ability and frailty: A cross-sectional study in central Thailand . Geriatric and Gerontology International, doi: 10.1111/ggi.13264 [Scopus]. , , .
 
Kwanchit Sasiwongsaroj, Taizo Wada, Kiyohito Okumiya, Hissei Imai, Yasuko Ishimoto, Ryota Sakamoto, Michiko Fujisawa, Yumi Kimura, Wen-ling Chen, Eriko Fukutomi and Kozo Matsubayashi. (2015). Buddhist social network and health in old age: A study in central Thailand. Geriatrics & Gerontology International, 1-9. [Scopus]. , , .
 
Saowapa Pornsiripongse, Kwanchit Sasiwongsaroj and Pacharin Ketjamnong. (2014). Buddhist Temple: A Religious Capital Approach for Preparing Thailand Toward the Aging Society. : Contemporary Socio-Cultural and Political Perspectives in Thailand, Springer, 65-82. [Book Chapter]. , , .
 
เสาวภา พรสิริพงษ์, ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ และ ยงยุทธ บุราสิทธิ์. (2557). วัดในพุทธศาสนากับความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 33(1), 99-125.
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . (2556). ท้องถิ่นภาคกลางท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง: บทสังเคราะห์จากโครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นพื้นที่ภาคกลาง. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30(2), 108-132.
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . (2553). Socioeconomic Inequalities in Child Mortality: A Comparison Between Thai Buddhists and Thai Muslims. Journal of Health Research, 24(2), 81-86.
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . (2553). ศาสนากับสุขภาพของผู้สูงอายุ. ธรรมศาสตร์เวชสาร, 10 (3), 1 – 8.
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . (2553). การบำบัดโดยการสวนล้างลำไส้. วารสารสำนักการแพทย์ทางเลือก, 3 (2), 4 - 15.
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . (2553). การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมมีบทบาทต่อการตายของเด็กในกลุ่มน้อยที่เป็นผู้อพยพหรือไม่. วารสารสมาคมพยาบาล สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 28 (3), 5-13.
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์, จรรยา เศรษฐบุตร, ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ และแคทรีนฟอร์ด. (2551). การตายที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างชาวไทยและชาวเขาในประเทศไทย: การศึกษาจากสำมะโนประชากรและเคหะแห่งชาติ. วิจัยประชากรและสังคม, 16 (2), 143 - 164.
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . (2549). การใช้บริการสุขภาพของแรงงานต่างชาติพม่าในจังหวัดระนอง. , , 135 - 149.
 
เสาวภา พรสิริพงษ์, ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์, พรทิพย์ อุศุภรัตน์, ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2544). การพัฒนารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงอย่างแรงโดยชุมชน. วารสารสังคมศาสตร์การแพทย์, 12 (1), 57 - 79.
 
การนำเสนอ (3)
2553 :
Religious Differentials in Child mortality : Evidence from Buddhists and Muslims in Thailand
2553 :
การเรียนรู้เรื่องท้องถิ่นจากความทรงจำร่วมของชุมชน
2548 :
ชุมชนลุ่มน้ำนครชัยศรี: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม พลวัต และการท้าทาย
 
ผลงานอื่นๆ (5)
 
. ( 2559 ). ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์. (2559). “การอยู่ร่วมกัน” ในยุคไร้พรมแดนจากการย้ายถิ่น. ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์, นันทิยา ดวงภุมเมศ และมรกต ไมยเออร์ (บรรณาธิการ), การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า 3 -33. .
 
เสาวภา พรสิริพงษ์, พรทิพย์ อุศุภรัตน์, อภิญญา บัวสรวง, ดวงพร คำนูณวัฒน์ และขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . ( 2548 ). วิถีชุมชนลุ่มน้ำนครชัยศรี. กรุงเทพฯ: บริษัทเอกพิมพ์ไท จำกัด. .
 
เสาวภา พรสิริพงษ์, ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์, พรทิพย์ อุศุภรัตน์, ธวัชชัย เพ็งพินิจ . ( 2544 ). การพัฒนารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคอุจาระร่วงอย่างแรงโดยชุมชน กรณีศึกษาจังหวัดระนอง. การป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงอย่างแรงโดยชุมชน: จังหวัดระนอง. การเสวนาสหสาขาวิชาการระหว่างสถาบันแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2544 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 26 ก.พ. 44 กทม. .
 
ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ . ( 2543 ). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: ฮกเกี้ยน. กรุงเทพ: สหธรรมมิก. .
 
. ( 2014 ). Kwanchit Sasiwongsaroj. (2014). Irregular Migrant Workers from Cambodia, Laos, and Myanmar in Thailand: Trends, Policies, and the Difficulties They Face. Southeast Asian Mobility Transitions: Issues and Trends in Migration and Tourism : Vienna, Edited by Karl Husa, Akexander Trupp, and Helmut Wohlschlagl, 54-82. [Book Chapter] .