การศึกษา
•   ศศ.บ. (ศิลปกรรม) สถาบันราชภัฏนครปฐม, ไทย
•   ศศ.ม. (พัฒนาชนบทศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล, ไทย
•   ปร.ด. (พัฒนศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร, ไทย
 
งานวิจัยที่สนใจ
1.
มานุษยวิทยาวัฒนธรรม
2.
กลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ
3.
วัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา
4.
ทุนทางวัฒนธรรม
5.
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรม
 
งานวิจัย (25)
2564 :
การบริหารจัดการกลุ่มชาติพันธุ์ในสังคมพหุวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนืออินเดียและเมียนมาเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของสังคมไทย_ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) [ผู้ร่วมวิจัย]
2563 :
ความเป็นไปได้ในการพัฒนาศักยภาพโรงเจบ้วนฮกตั้วเพื่อสืบสานวัฒนธรรมจีนในชุมชนตำบลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี_[หัวหน้าโครงการ]
2563 :
โครงการวิจัยบทบาทของโรงเจเล่าซินเฮงตั๊ว และมูลนิธิประชานุกูล ราชบุรี ในสถานการณ์วิกฤติโควิด-19_[ผู้ร่วมวิจัย]
2560 :
วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของกลุ่มชาติพันธุ์หลักในสังคมอาเซียนเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของไทย: กรณีศึกษาเวียดนาม อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์_ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน [ผู้ร่วมวิจัย]
2559 :
แผนงานที่ 2 การศึกษาการจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบรรษัทข้ามชาติ ระยะเวลา 2 ปี_[ผู้ร่วมวิจัย]
2559 :
โครงการย่อยที่ 2 การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแรงงานพม่า : กรณีศึกษาวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยในประเทศไทยและในประเทศเมียนมาร์ ภายใต้แผนงานที่ 2 การศึกษาการจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบรรษัทข้ามชาติ ระยะเวลา 2 ปี_ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน [หัวหน้าโครงการ]
2559 :
โครงการย่อยที่ 1 การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบรรษัทข้ามชาติ : กรณีศึกษาบริษัทอินเดียในไทยและบริษัทไทยในอินเดีย ภายใต้แผนงานที่ 2 การศึกษาการจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบรรษัทข้ามชาติ ระยะเวลา 2 ปี_ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน [ผู้ร่วมวิจัย]
2551 :
แผนแม่บทการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ
2551 :
โครงการจัดทำแผนพลังงานในระดับชุมชน 6 ชุมชน สนองพระราชดำริ ""เศรษฐกิจพอเพียง"": การจัดทำแผนพลังงานในระดับชุมชน
2549 :
สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: ไทยยวน
2547 :
ทุนทางสังคมด้านความเชื่อกับการพัฒนาท้องถิ่น : กรณีศึกษาความเชื่อของประชาชนที่มีต่อหลวงพ่อวัดไร่ขิง
2547 :
โลกทัศน์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: นิทานพื้นบ้านไทยโซ่ง
2546 :
การผสมผสานทางวัฒนธรรมของชาวไทยยวน บ้านคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
2542 :
โลกทัศน์กลุ่มชาติพันธุ์: ความเชื่อเรื่องผีของไทยโซ่ง
2541 :
การศึกษาอิทธิพลของความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมของชาวไทยโซ่งที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต : กรณีศึกษาหมู่บ้านแหลมกะเจา 2 ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
---- :
การสำรวจข้อมูลวัฒนธรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุในท้องถิ่นต่างๆ ในประเทศไทย
---- :
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนพลัดถิ่นชาวจีน อินเดีย และพม่าในอาเซียน: กรณีศึกษาประเทศไทย และมาเลเซีย
---- :
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแรงงานพม่า : กรณีศึกษาวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยในประเทศไทย
-- :
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนพลัดถิ่นชาวจีน อินเดีย และพม่า: กรณีศึกษาประเทศไทย
-- :
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนพลัดถิ่นชาวจีน อินเดีย และพม่า: กรณีศึกษาประเทศมาเลเซีย
-- :
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบรรษัทข้ามชาติ : กรณีศึกษาบริษัทอินเดียในประเทศไทย
-- :
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแรงงานพม่า : กรณีศึกษาวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยในประเทศเมียนมา
-- :
การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบรรษัทข้ามชาติ : กรณีศึกษาบริษัทไทยในประเทศอินเดีย
-- :
การค้าและการลงทุนในชุมชนหลักบนเส้นทางอาเซียนพลัส : ไทย–เมียนมา–อินเดีย
:
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยโซ่งบ้านเกาะแรด ตำบลบางปลา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
 
ผลงานตีพิมพ์ (17)
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2564). วัฒนธรรมการทำงานของชาวเมียนมาและชาวไทยในบริษัทไทยในประเทศเมียนมา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์, 15(3), .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2562). การเรียนรู้กับการบรรลุผลการท างานของชาวเมียนมาและชาวไทยในบริษัทไทยที่ไปลงทุนในเมียนมา. Veridian E-Journal, Silpakorn ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 12(5), 811-830.
 
พงศ์อินทร์ นันทวงศ์, เรณู เหมือนจันทร์เชย, ขนบพร วงศ์กาฬสินธุ์. (2562). การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม:กรณีศึกษาศาลเจ้าพ่อขุนศรัทธา บ้านท่าแค ตำบลท่าแค อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง. วารสารอินทนิลทักษิณสาร, 14(1), 43-63.
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2561). การจัดการความรู้ในพิธีเสนเรือนของไทยทรงดำ”. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, 38(1) 1-24. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิล, 38(1), 1-24.
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2560). การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยในประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 36(1), 49–70.
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2560). การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาวัฒนธรรมการทำงานของแรงงานพม่าในบริษัทไทยในประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 36(1), 49–70.
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2559). วัดในพุทธศาสนากับการเป็นพื้นที่ทางการศึกษาแก่ลูกหลานแรงงานข้ามชาติในจังหวัดสมุทรสาคร. , , .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2558). หน้าที่ทางสังคมของความเชื่อผีบรรพบุรุษไทยโซ่ง บ้านเกาะแรต จังหวัดนครปฐ. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 34(1) , 85–103.
 
โสภนา ศรีจำปา , เอี่ยม ทองดี และเรณู เหมือนจันทร์เชย. (2557). การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนพลัดถิ่นชาวจีน อินเดีย และพม่าในอาเซียน: กรณีศึกษาประเทศมาเลเซีย. หนังสือภาษาและวัฒนธรรมหลักประกันของสังคมสุขภาวะ, , 117-148.
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2556). ทุนวัฒนธรรมไทยทรงดำกับการเปลี่ยนผ่านยุคสมัยของชุมชน. วารสารรวมบทความทางวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12(2) , 175-202.
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2551). ความเชื่อพื้นบ้านในสังคมสมัยใหม่: กรณีศึกษาความเชื่อของไทยโซ่งในจังหวัดนครปฐม. วารสารดำรงวิชาการ, 7(2) , 16–37.
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2549). นิทานพื้นบ้าน : สื่อสะท้อนชีวิตและวัฒนธรรม. ภาษาและวัฒนธรรม , 25(1), .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2549). ผ้าทอกับวิถีชีวิตของชาวไทยยวนบ้านคูบัว. วัฒนธรรมปริทรรศน์ , 2(1 - 2), .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2548). ทุนทางสังคมด้านความเชื่อของประชาชนในท้องถิ่นที่มีต่อหวงพ่อวัดไร่ขิง . วัฒนธรรมปริทรรศน์ , 1(1), .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2548). ผีในนิทานชาวไทยโซ่ง. วัฒนธรรมปริทรรศน์ , 1(2 - 3), .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . (2544). ผีเฮือน : สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชาวไทยโซ่ง. ภาษาและวัฒนธรรม , 20(2), .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย, เอนก รักเงิน. (2544). หมากับคติชนคนภาคกลาง. ภาษาและวัฒนธรรม , 20(3), .
 
การนำเสนอ (2)
2549 :
พิธีเสนเรือน : การชำระหนี้ทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวไทยโซ่ง
2547 :
ทุนทางสังคมด้านความเชื่อกับการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษาความเชื่อของประชาชนที่มีต่อหลวงพ่อวัดไร่ขิง
 
ผลงานอื่นๆ (11)
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2550 ). (2550, วันศุกร์ที่ 23 กพ.). หลวงพ่อวัดไร่ขิงแบบอย่างทุนทางสังคมด้านศาสนากับการพัฒนาท้องถิ่น. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 57 ฉบับที่ 19660 . .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2549 ). (2549, วันพุธที่ 23 ส.ค.). เรียกขวัญผ่าน “เสนตัว” พิธีกรรมของชาวไทยโซ่ง. ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 57 ฉบับที่ 19475. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2548 ). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: ไทยยวน. กรุงเทพฯ: สหธรรมมิก จำกัด. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2548 ). กลุ่มชาติพันธุ์กับการพัฒนา. รวมบทความวิชาการภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2548 ). อีหลำ อีหลอน. จดหมายข่าวสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท, ปีที่ 26, ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม 2548), หน้า 8-9. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2548 ). การประชุมวิชาการ ณ ประเทศอินเดีย. ในวารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2548) .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2547 ). การผสมผสานทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยยวน ตำบลคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี.จดหมายข่าวสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท, ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม 2547), หน้า 2-3. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2546 ). โลกทัศน์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย : นิทานไทยโซ่ง. กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิกจำกัด. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2543 ). การพัฒนาชนบท : แนวทางองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาชนบทท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย. รวมบทความวิชาการภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. กรุงเทพ : บริษัทสหธรรมมิก จำกัด. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2543 ). เมย์ เมียะ ข่าย. ภาษิต คำพังเพยและสำนวนพม่า-ไทย. โครงการพม่าศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิกจำกัด. .
 
เรณู เหมือนจันทร์เชย . ( 2542 ). โลกทัศน์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย : ความเชื่อเรื่องผีของไทยโซ่ง. กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิกจำกัด. .