|
|
|
|
|
|
|
Home > About us > RILCA Trend > RILCA with ASEAN > Collaborative Network (ASEAN +2) |
|
COLLABORATIVE NETWORK (ASEAN +2) |
|
Cambodia:
China:
- Central University for Nationalities of Minorities People
- Department
of Chinese
and Bilingual
Studies, Hong
Kong Polytechnic
University
- http://www.cbs.polyu.edu.hk
- Institute of Southeast Asian Studies - http://www.iseas.edu.sg
- School of Humanities, Sun Yat-Sen (Zhongsa) University
- School of Languages and Cultures of Southeast Asia and South Asia,
Yunnan Minzu University, People Republic of China Yunnan Minzu University
- Sun Yat
Sen University
- http://www.sysu.edu.cn/en
- Xishuangbanna
Vocational
and Technical
Institute
- Yunnan Academy of Social Sciences - http://www.sky.yn.gov.cn
- Yunnan Nationalities University
India:
- International Centre for Cultural Studies (ICCS), India
- Shivaji College, University of Delhi
Indonesia:
- The Faculty of Culture Science, Gadjah Mada University
Myanmar:
- Chin Christian College (CCC)
- Dagon University
Vietnam:
- Faculty
of Oriental
Studies, University
of Social
Science and
Humanities
- http://www.hcmussh.edu.vn
- The Faculty of Linguistics, University of Social Sciences and Humanities, VNU
- Ho Chi
Minh University
of Foreign
Languages
Information
Technology
(HUFLIT) - http://huflit.edu.vn/eng
- Institute for Southeast Asian Studies
- Institute of Ethnology
- Institute of Linguistics, HaNoi, Vietnam
เครือข่ายความร่วมมือกับประเทศจีน
เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2554 รศ.ดวงพร คำนูณวัฒน์ ผู้อำนวยการสถาบันฯ และคณะ ได้เดินทางไปยังประเทศจีน เพื่อลงนามในบันทึกความร่วมมือกับวิทยาลัยอาชีวศึกษาและเทคโนโลยีสิบสองปันนา (Xishuangbanna Vocational and Technical Institute) โดยมี Mrs. Nie Qu รองอธิการบดี และคณะร่วมกันต้อนรับอย่างอบอุ่น ประเด็นความร่วมมือหลักมี 3 ด้าน คือ 1) ด้านการวิจัย เป็นการสนับสนุนให้บุคลากรทำงานวิจัยร่วมกันตามประเด็นที่ทั้งสองฝ่ายมีความสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อทั้งสองหน่วยงาน สนับสนุนให้เกิดการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยร่วมกันในรูปแบบต่างๆ ทั้งบทความวิชาการ สื่อประเภทต่างๆ การจัดสัมมนา ฯลฯ 2) ด้านการแลกเปลี่ยนบุคลากรและการจัดอบรมเทคนิคการสอนภาษาไทยและภาษาจีน (Training for the Trainers) การแลกเปลี่ยนนักศึกษา โดยเฉพาะการส่งนักศึกษาไปช่วยสอนภาษาไทยที่วิทยาลัยฯ หรือวิทยาลัยฯ ส่งนักศึกษามาช่วยสอนภาษาจีนที่สถาบันฯ และ 3) ด้านการเรียนการสอน โดยรับอาจารย์/นักศึกษาจากวิทยาลัยฯ เข้าเรียนในระดับปริญญาโท/เอกของสถาบันฯ คิดอัตราค่าเล่าเรียนเท่ากับนักศึกษาชาวไทย และวิทยาลัยฯ รับนักศึกษาชาวไทยเพื่อเข้าเรียนภาษาจีน อำนวยความสะดวกในการจัดการสอบวัดระดับภาษาจีนทั่วไป (HSK) ให้กับนักศึกษาชาวไทย
|
|
|
|
|
ความร่วมมืออื่นๆ
-
โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษาไทยกับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ประจำปีงบประมาณ 2554 อาจารย์สุมิตรา สุรรัตน์เดชา ได้รับทุนไปทำวิจัยในหัวข้อ Needs Analysis for the Thai Language Course in Xishuangbanna ระหว่างวันที่ 23 เมษายน – 23 มิถุนายน 2554ณ Xishuangbanna Vocational and Technical Institute (the Institute), China
-
การประชุม "Mekong River Regional Dai-Thai Culture Symposium ในระหว่างวันที่ 21 - 23 พฤษภาคม 2554 ณ Jinghong City, Xishuangbanna, China ดร.สุมิตรา สุรรัตน์เดชา และอาจารย์พธู คูศรีพิทักษ์ ร่วมเสนอผลงานในการประชุม
-
โครงการวิจัยร่วมกับบุคลากรจาก Xishuangbanna Vocational and Technical Institute ในหัวข้อที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ โดยมี ดร.สุมิตรา สุรรัตน์เดชา เดินทางไปเก็บข้อมูลภาคสนาม ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 1 - 15 ตุลาคม 2555
-
โครงการอบรม "หลักสูตรเร่งรัด การรับภาษาที่สอง: ทฤษฎีและปฏิบัติ" ตั้งแต่วันที่ 1 - 10 มิถุนายน 2556 ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
-
โครงการ "พัฒนาการเรียนการสอนภาษา-วัฒนธรรมไทยให้นักศึกษาต่างชาติ (ไทย-จีน)" ให้นักศึกษาจาก School of Languages and Cultures of Southeast Asia and South Asia, Yunnan Minzu University สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน 20 คน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม 2558-15 มกราคม 2559 และระยะที่ 2 ระหว่างวันที่ 16 มกราคม 2559-15 มิถุนายน 2559 ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย การจัดโครงการในครั้งนี้เป็นความร่วมมือภายใต้ MOU ระหว่างสถาบันฯ กับ School of Languages and Cultures of Southeast Asia and South Asia, Yunnan Minzu University สาธารณรัฐประชาชนจีน
เครือข่ายความร่วมมือกับประเทศพม่า
-
นายพันธ์พนิต ช้างจันทร์ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา วิชาเอกการสอนภาษา ไปสอนภาษาไทยให้นักศึกษาและบุคลากร ณ Dagon University ประเทศพม่า ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน -30 ตุลาคม 2557 (33 วัน)
-
นักศึกษาพม่า เรียนภาษาศาสตร์ผ่านทุน Norwegian Industry
|
|
|
|
|
|
|
|
|