การอบรม “เบื้องหลังบูลลี่”

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) โดยโครงการจัดตั้งหลักสูตรพิพิธภัณฑ์ศึกษา จัดการอบรม “เบื้องหลังบูลลี่”โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขนบพร วงศ์กาฬสินธุ์ อาจารย์ด้านจิตวิทยา/อาจารย์ประจำหลักสูตรวัฒนธรรมศึกษา สถาบันฯ เป็นวิทยากร ในวันที่ 11 มิถุนายน 2565 ผ่านระบบออนไลน์ Webex Meeting การจัดการอบรมนี้ จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้

Read more

การเสวนา Ethnic and Indigenous Tourism in the Asia Pacific

การเสวนาวิจัย หัวข้อ Ethnic and Indigenous Tourism in the Asia Pacific สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) โดยหลักสูตรภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม และโครงการจัดตั้งหลักสูตรพิพิธภัณฑ์ศึกษา จัดการเสวนาวิจัย ในหัวข้อ Ethnic and Indigenous Tourism

Read more

การอบรม “เทคนิคการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ” รุ่นที่ 22

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการอบรม “เทคนิคการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ” รุ่นที่ 21 โดยมีนายวีระพงศ์ มีสถาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาและวัฒนธรรมไทย และนักปฏิบัติวิจัย (ผู้ชำนาญการพิเศษ) ของสถาบันฯ เป็นวิทยากร ในระหว่างวันที่ 28-29 พฤษภาคม 2565 ผ่านระบบออนไลน์ Google

Read more

ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และงานวิจัยตอบโจทย์ Social Engagement

การอบรม “การทำความรู้จักกับผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการทำงานวิจัยตอบโจทย์ Social Engagement” สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการอบรม “การทำความรู้จักกับผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการทำงานวิจัยตอบโจทย์ Social Engagement” ให้กับอาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชิตชยางค์ ยมาภัย หัวหน้าโครงการพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยมหิดลกับสังคม

Read more

การบันทึกและถอดรหัสภาษาถิ่นด้วยระบบตัวเขียนอักษรไทย

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) จัดการอบรม “การบันทึกและถอดรหัสภาษาถิ่นด้วยระบบตัวเขียนอักษรไทย” โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร อาจารย์ประจำหลักสูตรภาษาศาสตร์ของสถาบันฯ เป็นวิทยากรบรรยาย ในวันที่ 21 พฤษภาคม- 18 มิถุนายน 2565 ผ่านระบบออนไลน์ Webex Meeting การอบรมในครั้งนี้

Read more

การอบรม “ภาษาเมียนมาเพื่อการสื่อความหมายอย่างเป็นทางการ”

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) จัดการอบรม “ภาษาเมียนมาเพื่อการสื่อความหมายอย่างเป็นทางการ”  โดยมี Miss Lwan Po ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวัฒนธรรมเมียนมา จากสถาบันฯ เป็นวิทยากรในระหว่างวันที่ 21 พฤษภาคม – 9 กรกฎาคม 2565 ผ่านระบบออนไลน์ Webex Meeting

Read more

หลักสูตรการอบรม The RILCA Literacy Courses

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) มหาวิทยาลัยมหิดล จัดหลักสูตรการอบรม The RILCA Literacy Course โดยมี คณาจารย์ของสถาบันฯ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาไทยเป็นวิทยากรบรรยายให้กับผู้สนใจทั่วไปทั้งคนไทยและคนต่างชาติ ในระหว่างวันที่ 23 เมษายน – 21 พฤษภาคม 2565 ผ่านระบบออนไลน์ Zoom

Read more

การใช้โปรแกรม TurnItin เพื่อตรวจสอบความซ้ำของผลงานวิชาการ

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) ร่วมกับ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการการอบรม “การใช้งานโปรแกรม TurnItin เพื่อตรวจสอบความซ้ำของผลงานวิชาการ” โดยได้รับเกียรติจาก ม.ล.รติกร วรวุฒิ หัวหน้าหอสมุดกลางหอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล และคุณวราภรณ์ เหล่านิศาสตร์ นักเอกสารสนเทศ งานพัฒนาทรัพยากรวารสาร ฝ่ายเทคนิคห้องสมุด หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล

Read more

กลยุทธการเลือกวารสารเพื่อการตีพิมพ์ผลงานวิชาการ

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) ร่วมกับ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการอบรม “กลยุทธการเลือกวารสารเพื่อการตีพิมพ์ผลงานวิชาการ” โดยได้รับเกียรติจาก คุณเกวลิน ธนสารสมบัติ Customer Consultant (Scopus, ScienceDirect) สังกัด บริษัท ELSEVIER มาเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้แก่ นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดล

Read more

วิธีการเก็บข้อมูลเสียงวรรณยุกต์ภาษาถิ่นด้วยโปรแกรม Praat รุ่นที่ 2

การอบรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการวิจัยทางภาษาศาสตร์ หัวข้อ “วิธีการเก็บข้อมูลเสียงวรรณยุกต์ภาษาถิ่น และการวิเคราะห์เสียงวรรณยุกต์ด้วยโปรแกรม Praat” รุ่นที่ 2  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย (RILCA) จัดการอบรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการวิจัยทางภาษาศาสตร์ หัวข้อ “วิธีการเก็บข้อมูลเสียงวรรณยุกต์ภาษาถิ่น และการวิเคราะห์เสียงวรรณยุกต์ด้วยโปรแกรม Praat” รุ่นที่ 2 โดยมี ดร.ยุทธพร นาคสุข อาจารย์ประจำหลักสูตรภาษาศาสตร์

Read more