พอได้ยินประโยคนี้ ไม่ว่าใครก็คงต้องตาโต ว่าการไปลอนดอนมันง่ายขนาดนั้นเชียวหรือ? อ๊ะๆ ไม่ลองก็ไม่รู้ ไปลอนดอนครั้งนี้ไม่ได้ไปเที่ยวนะจ๊ะ ไปเพื่อการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน โดยที่ต้องผ่านการเข้าอบรมที่กรุงเทพฯ 3 วันก่อน และไปที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร 5 วัน (ก็ระยะทางมันไกลนี่นา ไปทั้งทีก็ต้องใช้เวลาพอสมควร แค่การเดินทางก็เป็นวันแล้ว
เวลาในการศึกษาดูงานแค่ 5 วันไม่มากหรอก แป๊บเดียวเอง ว่าแต่ ทำอย่างไร?? ถึงจะได้ไปล่ะ
อ่านต่อใน ... ไปลอนดอนกันเถอะ !
โดย ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร : ungsitipoonporn@yahoo.com
|
|
|
รัฐทมิฬนาฑูเป็นรัฐที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดเป็น ลำดับสี่ของอินเดีย เป็นเมืองใหญ่ที่มีทั้งภาคเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม รวมทั้งยังเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีความ ่หลากหลายทางชีวภาพ และเป็นแหล่งแร่ธาตุที่สำคัญอีกด้วย และเนื่องมาจากความน่าสนใจทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เป็นแรงจูงใจสำคัญให้ทีมวิจัยโครงการ "การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบรรษัทข้ามชาติ: กรณีศึกษาบริษัทอินเดียในไทยและบริษัท ไทยในอินเดีย" จากสถาบันฯ ได้เดินไปเก็บข้อมูลภาคสนามอันเนื่องมาจากงานวิจัย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรณู เหมือนจันทร์เชยได้ถ่ายทอดประสบประสบการณ์ภาคสนามที่ได้รับผ่านกรณี บริษัทร่วมทุนระหว่างไทยอินเดีย "ROCKWORTH" ที่ตั้งอยู่ในเจนไน รัฐทมิฬนาฑู ระหว่าง วันที่ 19-28 พฤษภาคม 2559 รวมการเดินทางทั้งหมด 10 วัน
อ่านต่อใน ... เรื่องเล่าจาก ROCKWORTH กับการเปิดตลาดที่เจนไน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย
โดย เรณู เหมือนจันทร์เชย : renuaor2517@gmail.com
|
|
|
Newton Fund-TRF Midcareer Professional Development คือ อะไร จากชื่อโครงการน่าจะพอบอกได้กลายๆ ว่าเป็นโครงการฝึกอบรม พัฒนาทักษะสำหรับบุคคลากรรุ่นกลาง ว่าแต่ฝึกอบรมอะไร พัฒนาทักษะอะไร ให้กับคนรุ่นกลาง (เหมือนกับวัยกลางคนหรือไม่) บทความนี้มีคำตอบ
อ่านต่อใน ... Newton Fund-TRF Professional Development Program for Mid-Career Researchers รุ่นที่ 2
โดย ฐิติมดี อาพัทธนานนท์ : thithimadee.art@mahidol.ac.th
|
|
|
ด้วยความเชื่อและศรัทธาในพลังที่เกิดขึ้นจากพลังภายในชุมชนโดยคนในชุมชน และพลังแห่งการสร้างสรรค์จากเด็กและเยาวชน ผู้ที่จะทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนสังคมในโลกอนาคตที่มีความ แตกต่างหลากหลาย กระบวนการจัดการเรียนรู้เรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมจึงถูกนำ มาใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข้งให้สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนนำไป สู่การสร้างพลเมืองของประชาคมโลกที่รู้รากเหง้าและตระหนักรู้เท่าทันต่อความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ภายใต้บริบทแห่งการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบันและอนาคต...
อ่านต่อใน ... การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพเด็ก เยาวชน บนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม
โดย นันธิดา จันทรางศุ : nantida.cha@mahidol.ac.th
|
|
|
เรื่องเล่าจากภาคสนาม เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงของผู้วิจัย ในการเข้าไปศึกษาเรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ดังเรื่องเล่าในกรณีงานตักบาตรเทโวโรหณะของชาวมอญ ณ วัดศรีบูรณาวาสนี้ ผู้เขียนจะพาผู้อ่านทุกท่านไปทำความเข้าใจกับคำว่า "รู้เขา" และ "รู้เรา" ในอีกมุมมองหนึ่งในการทำความเข้าใจกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
อ่านต่อใน ... เรื่องเล่าภาคสนาม กรณีงานตักบาตรเทโวโรหณะของชาวมอญ ณ วัดศรีบูรณาวาส
โดย เรณู เหมือนจันทร์เชย : renuaor2517@gmail.com
|
|
|
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยจากการทำงานวิจัยภาคสนาม ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่แฝงไปด้วยภูมิปัญญาและคติความเชื่อที่น่าสนใจ
ตำนาน "ถั่วขอ" ของชาวญัฮกุร" หนึ่งในเรื่องเล่าที่ยังคงมีชีวิตจากชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ...
คุณรู้จัก "ถั่วขอ" ไหม?... ถั่วขอ คือ อะไร? ... เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของชาวญัฮกุรอย่างไร? ...
อ่านต่อใน ... ตำนาน "ถั่วขอ" ของชาวญัฮกุร
โดย ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร : ungsitipoonporn@yahoo.com
|
|
|
เมื่อนักวิจัยออกทำงานภาคสนาม มักพบกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดอยู่เสมอ การปรับตัวให้พร้อมรับเหตุการณ์เฉพาะหน้า และเปิดทุกผัสสะให้พร้อมรับการเรียนรู้จากสนาม นับเป็นบทเรียนสำคัญบทหนึ่งของนักวิจัย
อ่านต่อใน ... ชุมชนพร้อมให้การเรียนรู้แก่ผู้มาเยี่ยมเยือนเสมอ จะนัดหรือไม่นัด ... ไม่เป็นไร
โดย เรณู เหมือนจันทร์เชย : renuaor2517@gmail.com
|
|
|
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องพิธีบอกทางของชาวไทยทรงดำ แสดงให้เห็นถึงนำวิธีการจัดกระบวนการสนทนากลุ่มมาใช้เป็นเครื่องมือวิจัย เพื่อแสวงหาแนวทางการจัดการพิธีกรรมของชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
อีกทั้งยังเป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างนักวิจัยและชุมชน ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งในการคืนความรู้สู่ชุมชนอย่างยั่งยืน
อ่านต่อใน ... พิธีบอกทางของชาวไทยทรงดำ ณ วัดศรีประชาวัฒนาราม ต.บางปลา อ.บางเลน จ.นครปฐม
โดย เรณู เหมือนจันทร์เชย : renuaor2517@gmail.com
|
|
|
การศึกษาวิถีอาเซียน ในด้านการจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนพลัดถิ่นในประเทศไทย และประเทศมาเลเซียในมิติต่างๆ เพื่อเสนอเป็นนโยบายหรือแนวทางด้านประชาสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ในการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน และเพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่มีเอกภาพ เอื้ออาทร และนำไปสู่สังคมสุขภาวะ
อ่านต่อใน ... การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรมของคนพลัดถิ่นชาวจีน อินเดีย และพม่า : กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย
โดย โสภนา ศรีจาปา : sophana.sri@mahidol.ac.th, เอี่ยม ทองดี : iam2494b@gmail.com,
เรณู เหมือนจันทร์เชย : renuaor2517@gmail.com
|
|
|
ด้วยภาษาญัฮกุรไม่มีภาษาเขียน มีแต่ภาษาพูดที่ถ่ายทอดกันมาตั้งแต่โบราณ หากไม่มีการอนุรักษ์สืบทอด ก็จะสูญหายทั้งภาษาและมรดกทางภูมิปัญญา ชาวญัฮกุรส่วนหนึ่งที่เห็นความสาคัญดังกล่าวจึงรวมตัวกันทางานวิจัยชุมชน โดยมีนักภาษาศาสตร์จากสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนา เริ่มวิจัยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 จนได้ระบบตัวเขียนภาษาญัฮกุรอักษรไทย เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบันทึกความรู้ ประวัติศาสตร์หรือสิ่งที่ต้องการถ่ายทอดออกมาเป็นตัวอักษร
อ่านต่อใน ... ภาคสนามญัฮกุร อีกหนึ่งพื้นที่ภาคสนามที่ใครๆ ก็อยากไปสัมผัส
โดย ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร : siripen.ung@mahidol.ac.th
|
|
|
ประชาธิปไตย คือ ชีวิตประจำวัน เป็นเรื่องใกล้ตัว ไม่ใช่เพียงเรื่องประเด็นทางการเมืองการปกครองอย่างเดียวประชาธิปไตย คือ การที่เราอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขภายใต้สิทธิเสรีภาพ สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ภายใต้กฎระเบียบวินัย รู้จักการใช้เหตุผล มีความสามัคคี ความเอื้ออาทร มีน้ำใจ การประนีประนอม พึ่งพาอาศัย เพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างสบายใจและเป็นสุขการอยู่ร่วมกันแบบมีส่วนร่วม "ส่วนร่วม-ส่วนรวม" คือ การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการแก้ไขปัญหา ตัดสินใจ ภายใต้กรอบความคิดที่มีหลักการและเหตุผล เอื้ออาทร แบ่งปัน ประนีประนอม ความสามัคคี มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความพอเพียง ไม่เอารัดเอาเปรียบ เคารพและยอมรับในความแตกต่าง จึงจะทำให้สังคมมีความสงบสุข มีขอบเขต
อ่านต่อใน ... เสียงสะท้อนของเด็กไทย...จากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "ประชาธิปไตยในวิถีไทย"
โดย นันทิยา ดวงภุมเมศ : nuntiya.dou@mahidol.ac.th
|
|
|
แม้ว่าการเดินทางไปต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในอาเซียน จะไม่ใช่เรื่องยากสาหรับคนรุ่นใหม่ อีกทั้งการไปทัศนศึกษาดูงานต่างประเทศ ก็กลายเป็นเรื่องธรรมดาในชีวิตของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในปัจจุบัน แต่เมื่อนักศึกษากลุ่มเล็กๆ เพียง 5 คน เริ่มมีความคิดที่อยากจะรู้จักและเข้าใจวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของคนในประเทศอาเซียนมากกว่าที่เรียนรู้ในห้องเรียน จึงได้ศึกษาข้อมูลของประเทศที่สนใจ พูดคุยปรึกษาหารือกับอาจารย์ จนในที่สุดได้ตัดสินใจเลือกที่จะไปนครโฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม
อ่านต่อใน ... ครั้งหนึ่งในนครโฮจิมินห์...ประสบการณ์และการเรียนรู้นอกห้องเรียน
โดย
นันทิยา ดวงภุมเมศ : nuntiya.dou@mahidol.ac.th
|
|
|
ASEAN University Network (AUN) จัดให้มี Youth Cultural Forum เพื่อแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมจากนักศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียนติดต่อกันมาจนถึงปีนี้เป็นครั้งที่ 11 และสำหรับปีนี้เป็นปีแรกที่จัด The ASEAN+3 Youth Cultural Forum, โดยมี University of Malaya ,Malaysia เป็นเจ้าภาพ
อ่านต่อใน ... The 1 st ASEAN +3 Youth Cultural Forum
โดย วาทิตต์ ดุริยอังกูร : vatit.dur@mahidol.ac.th
|
|
|
แม่บ้านสาระวนอยู่กับเรื่องในครัว เด็กๆ เตรียมตัวไปโรงเรียน พ่อบ้านเตรียมเครื่องไม้เครื่องมือสำหรับงานเกษตรและอื่นๆอีกจิปาถะ แต่ละบ้านเลี้ยงวัว จึงได้นมสดๆใหม่ๆสำหรับดื่มทุกวัน แม่บ้านรับภาระรีดนมวัว ถ้ามีวัวสัก 2 – 3 ตัวเป็นอย่างน้อยก็ถือว่าเพียงพอแล้วสำหรับหนึ่งครอบครัว
อ่านต่อใน ... ท่องไปในปัญจาบ ภาคสนามอินเดียศึกษา 2
โดย อภิรัฐ คําวัง : aphirat.kam@maidol.ac.th
|
|
|
กล่องรองเท้า มีความสำคัญกับนักศึกษาที่เรียนวิชาภาษาศาสตร์เป็นอย่างมาก เพราะเป็นกล่องที่ไม่เล็กไม่ใหญ่จนเกินไป ภายในบรรจุบัตรหรือกระดาษที่ว่างจนเต็มกล่อง ในจำนวนนี้จะมีกระดาษแข็งซึ่งมีขนาดเท่ากับบัตรธรรมดาที่บรรจุในกล่อง แต่ที่พิเศษคือมีแท็บหรือโหนกตรงสันด้านบน
อ่านต่อใน ... กล่องรองเท้า ก้าวย่างไปสู่นักภาษาศาสตร์
โดย วีระพงศ์ มีสถาน : werapong.mes@mahidol.ac.th
|
|
|
ความเป็นเมืองได้คืบคลานขยายบริเวณไปสู่บ้านนอกขอกนา จึงกลายเป็นค่าผกผันให้พื้นที่ความเป็น "บ้านนอก" ถดถอยน้อยลง เหลือความเป็นพื้นบ้านพื้นเมืองจากรายการโทรทัศน์หรือภาพยนต์ย้อนยุค แต่เชื่อเถอะว่า เสียงไก่ขันกระชั้นถี่ๆ ใกล้ตีสี่ตีห้า พร้อมกับสายลมหนาวหวีดหวิวนอกหน้าต่างเหนือหัวนอน ยังมีที่หมู่บ้านไทลื้อ สิบสองปันนา
อ่านต่อใน ... ไปนอนฟังไก่ขันรับอรุณกันเถอะ
โดย
วีระพงศ์ มีสถาน : werapong.mes@mahidol.ac.th
|
|
|
ปัญจาบได้รับการขนานนามว่าเป็นเมืองศาสนาและเมืองประวัติศาสตร์ หากศึกษาอารยธรรมอินเดียก็จําต้องทําความรู้จัก และทําความเข้าใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นในดินแดนแห่งแม่น้ำห้าสายหรือปัญจาบ (Punjab)
อ่านต่อใน ... สัมผัสถิ่นปัญจาบ ภาคสนามอินเดียศึกษา
โดย อภิรัฐ คําวัง : aphirat.kam@maidol.ac.th
|
|
|
Three things cannot be long hidden: the sun, the moon, and the truth.
สิ่งซึ่งมิอาจหลบเร้นอยู่ได้ยาวนาน 3 สิ่งได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และความจริง
พระพุทธองค์
อ่านต่อใน ... ปัญญาจะเกิดได้ท่ามกลางสัจจะเท่านั้น
โดย อมร แสงมณี
|
|
|
การเริ่มต้นที่แสนงดงามล้ำเลิศ บางครั้งจบสิ้นบนความหมองเศร้า กระนั้นแล้วในวันอันสุดแสนหม่นหมองในใจเรา พรุ่งนี้ดวงตะวันจักส่องแสงสร้างพลังดั่งเคย
อ่านต่อใน ... การเริ่มต้นใหม่
โดย อมร แสงมณี
|
|
|
เห็นผู้สูงอายุหลายท่านยังทำงานขายของเล็กๆ น้อยๆ และมีสมาคมกันแถวบริเวณหน้าวัด จับกลุ่มพูดคุยกันอย่างมีความสุข ราคาลูกปัดหรือพวงมาลัยที่เห็น เส้นละ 5-10 เท่านั้น ถ้าเป็นคนไทยก็ลดให้อีก แม่เฒ่าบอกว่า "เราเป็นพี่น้องไทเหมือนกัน" ฟังแล้วรู้สึกอบอุ่น เหมือนกับมาเยี่ยมญาติผู้ใหญ่
อ่านต่อใน ... เยือนพี่น้องชาวไทลื้อ...ที่สิบสองปันนา
โดย
ยงยุทธ บุราสิทธิ์ : yongyut.bur@mahidol.ac.th
|
|
|
จากข้อมูลการสำรวจสถานการณ์ภาษา และจากลักษณะภาษาที่ใช้ปะปนกันของกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ ชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มการเสื่อมถอยของภาษามลายูปาตานี และในขณะเดียวกันก็แสดงถึงทักษะการใช้ภาษาไทยซึ่งยังไม่ถูกต้องไปพร้อมกันด้วย
อ่านต่อใน ... ภาษามลายูปาตานี: ความเข้มข้นของภาษาแม่ที่กำลังเจือจาง
โดย
มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์ : mirinda.bur@mahidol.ac.th
|
|
|
ชาวดาระอางนับถือศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท และเป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัดในการทำบุญ ฟังเทศน์ ถือศีล นอนวัด เมื่อมีลูกชายก็มีประเพณีบวชสามเณรและบวชพระ หมู่บ้านของชาวดาระอางจะมีวัดหรือสำนักสงฆ์ทุกหมู่บ้าน
อ่านต่อใน ... การถือผีอย่างเข้มขลังและวิถีพุทธอย่างเคร่งครัดของชาวปะหล่อง บ้านนอแล
โดย สุจริตลักษณ์ ดีผดุง : sujaritlak.dee@mahidol.ac.th
|
|
|
ถ้าอยากมีความสุขเหมือนกลุ่มแม่เฒ่าชาวไทยลื้อ ต้องอยู่แบบพอเพียง มีการเกื้อกูลและดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน แค่นี้สังคมก็จะมีแต่ความสุขโดยไม่ไปเปรียบเทียบกับความสุขของสังคมอื่น
อ่านต่อใน ... ความสุขของกลุ่มแม่เฒ่าชาวไทยลื้อ
โดย ยงยุทธ บุราสิทธิ์ : yongyut.bur@mahidol.ac.th
|
|
|
พวกเรานั่งรถไฟ(ด่วน) จากเมืองบางกอก ตอนหัวค่ำ ออกตรงเวลา แต่ไปถึงหนองคายแบบเสียเวลา คงจะเป็นธรรมเนียมปฎิบัติไปแล้วสำหรับการรถไฟไทย ที่ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นเลย
อ่านต่อใน ... ไป "ลาว" ทำไม
โดย
ยงยุทธ บุราสิทธิ์ : yongyut.bur@mahidol.ac.th
|